ข่าวประชาสัมพันธ์
การบำบัดน้ำเสีย
20 มีนาคม 2556
4730
น้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย |
|
น้ำ เป็น |
-
เมื่อ
ถูก นำ มา ใช้ ใน ครัว เรือน การ เกษตร และ การ อุตสาหกรรม ใน อัตรา สูง และ ถูก ปล่อย ทิ้ง ลง สู่ แหล่ง น้ำ ใน ลักษณะ ของ น้ำ เสีย ที่ มี ปริมาณ มาก เกิน ขีด ความ สามารถ ที่ แหล่ง น้ำ ธรรม ชาติ จะ ปรับ ตัว ได้ ทัน ทำ ให้ แหล่ง น้ำ มี คุณภาพ เลว ลง และ ใน ที่ สุด ก็ กลาย เป็น น้ำ เน่า เสีย สิ่ง มี ชีวิต ที่ เคย อาศัย อยู่ ใน น้ำ ก็ ไม่ อาจ ดำรง ชีวิต อยู่ ต่อ ไป ได้ อีก -
สภาพ
ความ เน่า เสีย ของ น้ำ ใน แม่ น้ำ ลำ คลอง ซึ่ง มี ลักษณะ เป็น สี ดำ คล้ำ และ ส่ง กลิ่น เหม็น คงเ ป็นภาพ ที่ เรา เคย เห็น จน ชิน ตา และ อาจ มี หลาย ท่าน เคย ตั้ง คำ ถาม ว่า น้ำ เสีย สี ดำ คล้ำ ใน คลอง เหล่า นี้ มา จาก ไหน และ มี ทางจะ กล ับมา ใส เหมือนเดิมได้ หรือ ไม่ ? น้ำ เสีย มา จาก ไหน ? -
น้ำ
เสีย หมาย ถึง น้ำ ที่ มี สาร ใด ๆ หรือ สิ่ง ปฏิกูล ที่ ไม่ พึง ปรารถนา ปน อยู่ การ ปน เปื้อน ของ สิ่ง สกปรก เหล่า นี้ จะ ทำ ให้ คุณสมบัติ ของ น้ำ เปลี่ยน แปลง ไป จน อยู่ ใน สภาพ ที่ ไม่ สามารถ นำ กลับ มา ใช้ ประ โยชน์ ได้ สิ่ง ปน เปื้อน ที่ อยู่ ใน น้ำ เสีย ได้ แก่
น้ำมัน ไข มัน ผง ซัก ฟอก สบู่ ยา ฆ่า แมลง สาร อินทรีย์ที่ ทำ ให้ เกิด การ เน่า เหม็น และ เชื้อ โรค ต่าง ๆ สำหรับ แหล่ง ที่ มา ของ น้ำ เสีย พอ จะ แบ่ง ได้ เป็น 2 แหล่ง ใหญ่ ๆ ดัง นี้ -
1. น้ำ
เสีย จาก แหล่ง ชุม ชน มา จาก กิจ กรรม สำหรับ การ ดำรง ชีวิต ของ คน เรา เช่น อาคาร บ้าน เรือน หมู่ บ้าน จัด สรร คอน โด มิเนียม โรง แรม ตลาด สด โรง พยาบาล เป็น ต้น จาก การ ศึกษา พบ ว่า ความ เน่า เสีย ของ คู คลอง เกิด จาก น้ำ เสีย ประเภท นี้ ถึง ประมาณ 75% -
2. น้ำ
เสีย จาก กิจ กรรม อุตสาหกรรม ได้ แก่ น้ำ เสีย จาก ขบวน ผลิต ของ โรง งาน อุตสาหกรรม รวม ทั้ง น้ำ หล่อ เย็น ที่ มี ความ ร้อน สูง และ น้ำ เสีย จาก ห้อง น้ำ ห้อง ส้วม ของ คน งาน ด้วย ความ เน่า เสีย ของ คุ คลอง เกิด จาก น้ำ เสีย ประเ ภทนี้ ประมาณ 25% แม้ จะ มี ปริมาณ ไม่ มาก นัก แต่ สิ่ง สกปรก ใน น้ำ เสีย จะ เป็น พวก สาร เคมี ที่ เป็น พิษ และ พวก โลหะ หนัก ต่าง ๆ รวม ทั้ง พวก สาร อินทรีย์ต่าง ๆ ที่ มี ความ เข้ม ข้น สูง ด้วย กรรม
วิธี ใน การ บำบัด น้ำ เสีย -
การ
บำบัด น้ำ เสีย ให้ เป็น น้ำ ที่ สะอาด ก่อน ปล่อย ทิ้ง เป็น วิธี การ หนึ่ง ใน การ แก้ ไข ปัญหา แม่ น้ำ ลำ คลอง เน่า เสีย โดย อาศัย กรรม วิธี ต่าง ๆ เพื่อ ลด หรือ ทำลาย ความ สกปรก ที่ ปน เปื้อน อยู่ ใน ห้อง น้ำ ได้ แก่ ไข มัน น้ำ มัน สาร อินทรีย์ สา รอ นินทรีย์ สาร พิษ รวม ทั้ง เชื้อ โรค ต่างๆ ให้ หมด ไป หรือ ให้ เหลือ น้อย ที่ สุด เมื่อ ปล่อย ทิ้ง ลง สู่ แหล่ง น้ำ ก็ จะ ไม่ ทำ ให้ แหล่ง น้ำนั ้นเน่า เสีย อีก ต่อ ไป ขั้น
ตอน ใน การ บำบัด น้ำ เสีย -
เนื่อง
จาก น้ำ เสีย มี แหล่ง ที่ มา แตก ต่าง กัน จึง ทำ ให้ มี ปริมาณ และ ความ สกปรก ของ น้ำ เสีย แตก ต่าง กัน ไป ด้วย ใน การ ปรับ ปรุง คุณภาพ ของ น้ำ เสีย จำ เป็น จะ ต้อง เลือก วิธี การ ที่ เหมาะ สม สำหรับ กรรม วิธี ใน การ ปรับ ปรุง คุ รภาพ ของ น้ำ เสีย นั้น ก็ มี หลาย วิธี ด้วย กัน โดย พอ จะ แบ่ง ขั้น ตอน ใน การ บำบัด ออก ได้ ดัง นี้ -
การ
บำบัด น้ำ เสีย ขั้น เตรียม การ (Pretreatment) -
เป็น
การ กำจัด ของ แข็ง ขนาด ใหญ่ ออก เสีย ก่อน ที่ น้ำ เสีย จะ ถูก ปล่อย เข้า สู่ ระบบ บำบัด น้ำเสี ย เพื่อ ป้อง กัน การ อุด ตัน ท่อ น้ำ เสีย และ เพื่อ ไม่ ทำ ความ เสีย หาย ให้ แก่เครื่องสูบ น้ำ การ บำบัด ใน ขั้น นี้ ได้ แก่ -
การ
ดัก ด้วย ตะแกรง เป็น การ กำจัด ของ แข็ง ขนาด ใหญ่ โดย ใช้ ตะแกรง ตะแกรง ที่ ใช้ โดย ทั่ว ไป มี 2 ประเภท คือ ตะแกรง หยาบ และ ตะแกรง ละเอียด -
การ
บด ตัด เป็น การ ลด ขนาด หรือ ปริมาตร ของ แข็ง ให้ เล็ก ลง ถ้า สิ่ง สกปรก ที่ ลอย มากับน้ำ เสีย เป็น สิ่ง ที่ เน่า เปื่อย ได้ ต้อง ใช้เครื่องบด ตัด ให้ ละ เอ ียด ก่อน แยก ออก ด้วย การ ตก ตะกอน -
การ
ดัก กรวด ทราย เป็น การ กำจัด พวก กรวด ทราย ทำ ให้ ตก ตะกอน ใน ราง ดัก กรวด ทราย โดย การ ลด ความ เร็ว น้ำ ลง -
การ
กำจัด ไข มัน และ น้ำ มัน เป็น การ กำจัด ไข มัน และ น้ำ มัน ซึ่ง มัก อยู่ ใน น้ำ เสีย ที่ มา จาก ครัว โรง อาหาร ห้อง น้ำ ปั๊ม น้ำ มัน และ โรง งาน อุตสาหกรรม บาง ชนิด โดย การกักน้ำ เสีย ไว้ ใน บ่อ ดัก ไข มัน ใน ช่วง เวลา หนึ่ง เพื่อใ ห้น้ำ มัน และ ไข มัน ลอย ตัว ขึ้น สู่ ผิว น้ำ แล้ว ใช้เครื่องตัก หรือ กวาด ออก จาก บ่อ -
การ
บำบัด น้ำ เสีย ขั้น ที่ สอง (Secondary Treatment) -
เป็น
การ กำจัด น้ำ เสีย ที่ เป็น พวก สาร อินทรีย์อยู่ ใน รูป สาร ละ ลาย หรือ อนุภาค คอลลอยด ์ โดย ทั่ว ไป มัก จะ เรียก การ บำบัด ขั้น ที่ สอง นี้ ว่า "การ บำบัด น้ำ เสีย ด้วย ขบวน การ ทางชีววิทยา " เนื่อง จาก เป็น ขั้น ตอน ที่ ต้อง อาศัย จุลินทรีย์ ใน การ ย่อย สลาย หรือ ทำลาย ความ สกปรก ใน น้ำ เสีย การ บำบัด น้ำ เสีย ใน ปัจจุบันนื้อย่าง น้อย จะ ต้อง บำบัด ถึง ขั้น ที่ สอง นี้ เพื่อ ให้ น้ำ เสีย ที่ ผ่าน การ บำบัด แล้ว มี คุณภาพ มาตร ฐาน น้ำ ทิ้ง ที่ ทางราช การ กำหนด ไว้ การ บำบัด น้ำ เสีย ด้วย ขบวน การ ทางชีววิทยา แบ่ง เป็น 2 ประเภท ได้ แก่ ขบวน การ ที่ ใช้ ออกซิเจน เช่น ระบบ บ่อ เติม อากาศ ระบบ แค ติเวตเตด สลัดจ์ ระบบ แผ่น หมุน ชีวภาพ ฯลฯ และ ขบวน การ ที่ ไม่ ใช้ ออกซิเจน เช่น ระบบ ถัง กรอง ไร้ อากาศ ระบบ ถัง หมัก ตะกอน ฯลฯ ทั้ง นี้ ขึ้น อยู่กับชนิด ของ จุลินทรีย์ ที่ ทำ หน้า ที่ ย่อย สลาย -
การ
บำบัด น้ำ เสีย ขั้น สูง (Advanced Treatment) -
เป็น
การ บำบัด น้ำ เสีย ที่ ผ่าน การ บำบัด ใน ขั้น ที่ สอง มา แล้ว เพื่อ กำจัด สิ่ง สกปรก บาง อย่าง ที่ ยัง เหลือ อยู่ เช่น โลหะ หนัก หรือ เชื้อ โรค บาง ชนิด ก่อน จะ ระบาย น้ำ ทิ้ง ลง สู่ แหล่ง น้ำ สาธารณะ การ บำบัด ขั้น นี้ มัก ไม่ นิ ยม ปฏิบัติ กัน เนื่อง จาก มี ขั้น ตอน ที่ ยุ่ง ยาก และ เสีย ค่า ใช้ จ่าย สูง นอก จาก ผู้ บำบัด จะ มี วัตถุ ประสงค์ ใน การ นำ น้ำ ที่ บำบัด แล้ว กลับ คืน มา ใช้ อีก ครั้ง "ร่วม
มือ กัน คน ละ นิด ช่วย ชุบ ชีวิต สิ่ง แวด ล้อม"